
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (ดร.วริศรา 60071.122)
ศึกษาแนวคิดการวางแผน และการบริหารเชิงกลยุทธ์ ความแตกต่างของการวางแผน และการบริหารทั่วไป องค์ประกอบของการวางแผนเชิงกลยุทธ์การกำหนดเป้าหมายของธุรกิจ กระบวนการ และเทคนิคการวางแผน การวางนโยบายธุรกิจ กระบวนการและเทคนิคแห่งการแข่งขัน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอก กลยุทธ์รวมของธุรกิจ การประเมินผล และการติดตาม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และสามารถนำความรู้ที่ได้มากำหนด กระบวนการทางการบริหารในระยะยาว กำหนดกลยุทธ์ดำเนินตามกลยุทธ์และประเมินกลยุทธ์ขององค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ทางบริหารธุรกิจมาประยุกต์ใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ของธุรกิจเพื่อรักษากลยุทธ์ของธุรกิจให้มีประสิทธิภาพเสมอ
3. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ และประสบการณ์มาใช้วิเคราะห์ปัญหาแก้ไขปัญหา
4. เสริมสร้างให้มีการทำงานเป็นทีมเพื่อความสามัคคีและแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและประสบการณ์
กิจกรรมการเรียนการสอน 1.
การบรรยาย 3.
การค้นคว้าด้วยตนเอง 4.
การทดสอบ การวัดผล 1.คะแนนระหว่างภาคเรียน 70 คะแนน 1.1 เวลาเรียน 10 คะแนน 1.2 งานเดี่ยว 10 คะแนน 1.3 งานกลุ่ม 20
คะแนน 1.4 สอบกลางภาค 30 คะแนน 2.สอบปลายภาค 30
คะแนน สัปดาห์ที่ หัวข้อ กิจกรรม 1-2 แนะนำวิชา / ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ ทำแบบทดสอบ ก่อนเรียน บรรยาย 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ บรรยาย/กรณีศึกษา 4 สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ บรรยาย/กรณีศึกษา 5 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก :
การกำหนดโอกาสและอุปสรรค บรรยาย/กรณีศึกษา 6 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน : การกำหนดจุดอ่อนและจุดแข็ง บรรยาย/กรณีศึกษา 7 สอบกลางภาค 8 การกำหนดทิศทางขององค์กร:
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย/และวัตถุประสงค์ บรรยาย/กรณีศึกษา 9-10 การกำหนดกลยุทธ์ บรรยาย/กรณีศึกษา 11-12 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ บรรยาย/กรณีศึกษา 12-13 การประเมินผลและการควบคุมกลยุทธ์ บรรยาย/กรณีศึกษา 14-15 การวิเคราะห์และการนำเสนอกรณีศึกษา บรรยาย 16-17 การวิเคราะห์และการนำเสนอกรณีศึกษา บรรยาย 18 สอบปลายภาค เกณฑ์การประเมินผล ระดับคะแนน A ร้อยละ 80-100 ระดับคะแนน B + ร้อยละ 75-79 ระดับคะแนน B ร้อยละ 70-74 ระดับคะแนน C +
ร้อยละ 65-69 ระดับคะแนน C ร้อยละ 60-64 ระดับคะแนน D + ร้อยละ
55-59 ระดับคะแนน D ร้อยละ 50-54 ระดับคะแนน E ต่ำกว่าร้อยละ 50 ตำราหลัก:
ดร.วริศรา
สมเกียรติกุล การจัดการเชิงกลยุทธ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2561หนังสืออ่านนอกเวลา 1.
จินตนา บุญบงการ และ ณัฏฐพันธ์
เขมจรนันท์. 2549. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น 2.
รศ. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. การบริหารเชิงกลยุทธ์.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาศึกษา,
2542 3.
รศ.บุญเกียรติ
ชีวะตระกูลกิจ. การจัดการเชิงยุทธศาสตร์ สำหรับ CEO. (พิมพ์ครั้งที่
6). กรุงเทพฯ:
สุขมและบุตร, 2549 4.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2553). การบริหารเชิงกลยุทธ์:
แนวคิดและทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 5.
David, Fred R. Strategic Management
Concepts. 8th ed. Upper Saddle River, N.J. : Prentice-Hall, Inc., 2001. 6.
John A. Pearce and Richard B. Robinson. Strategic
Management,
7Th ed. (Boston : McGraw - Hill, 2000). 340. 7.
Pitts, Robert A. and Lel, David. (2001).
Strategic Management : Building andSustaining
Competitive
Advantage. 2nd ed. USA. : South-Western College 8.
Thompson, Arthur A. and Strickland III,
A.J. (1999). Strategic Management : Concepts and
Cases. 11th ed. Boston : McGroww-Hill, Inc.
2. การจัดทำรายงานเป็นงานกลุ่มและอภิปรายหัวข้อและกำหนดการสอน
ตำราและเอกสารประกอบการเรียนการสอน

เทคนิคการนำเสนอ (ดร.ปิยตา 60060.122)

เทคนิคการนำเสนอ (ดร.ปิยตา 60059.121)

การประกันภัย (ผศ.จุฑารัตน์ 60057.122)
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงลักษณะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกันภัย ลักษณะของการเสี่ยงภัย ปัจจัยในการประกอบการรับประกันภัย หลักทั่วไปตามกฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัย รูปแบบของการประกันชีวิต การประกันวินาศภัยต่าง ๆ ที่มีทั้งการประกันภัยรถยนต์ ประกันภัยทางทะเล ตัวแทน นายหน้าการประกันภัย ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารธุรกิจประเภทต่าง ๆ ตลอดจนศึกษาถึงปัญหาและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ในการทำธุรกิจประกันภัย
จุดประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเข้าใจในคุณลักษณะพื้นฐาน และโครงสร้างงานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ตลอดจนงานบริการ
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาองค์ประกอบที่สำคัญของธุรกิจและงานประกันที่ต้องเข้าใจในเงื่อนไข ข้อกฎหมายที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและสังคม
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียนการสอน และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้กับองค์การที่ปฏิบัติงานอยู่ หรือองค์การที่ปฏิบัติงานในอนาคตได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การบรรยาย , อภิปรายซักถามข้อสงสัย
2. มอบหมายงาน เพื่อฝึกการวิเคราะห์ สังเคราะห์งาน
3. รูปแบบการนำเสนอเพื่อฝึกภาวะผู้นำ
การวัดผล
1. การทำแบบฝึกหัด 20 คะแนน
2. การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนองานที่มอบหมาย 20 คะแนน
3. ทดสอบระหว่างภาคเรียน 20 คะแนน
4. ทดสอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน
รวม 100 คะแนน
การประเมินผล
ระดับคะแนน A = 81 – 100
ระดับคะแนน B+ = 76 – 80
ระดับคะแนน B = 71 – 75
ระดับคะแนน C+ = 66 – 70
ระดับคะแนน C = 61 – 65
ระดับคะแนน D+ = 56 – 60
ระดับคะแนน D = 51 – 55
ระดับคะแนน E = 0 – 50
เอกสารและตำราประกอบการสอน
จิตติ ติงศภัทิย์. 2550. ป.พ.พ. ว่าด้วยการประกันภัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จันทิรา เพ็ชรยัน. 2550. หลักการประกันภัย. กรุงเทพฯ : บริษัทเอช.เอ็น. กรุ๊ปจำกัด. แขวงสีลม
เขตบางรัก กรุงเทพฯ
ณัฐวัสส์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. 2553. คำบรรยายจากเนติฯ พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทย
วัฒนาพาณิชย์ จำกัด
ไพโรจน์ อายุภาพ. 2552. กฎหมายประกันภัย. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด
พูลศักดิ์ พุ่มวิเศษ. 2553. การวิเคราะห์นโยบายและแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ นนทบุรี: บริษัท
ยุทธรินทร์การพิมพ์ จำกัด.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. 2551 พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดเอดูเคชั่น.
สำนักงานประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พัฒนาสานัส.

การประกันภัย (ผศ.จุฑารัตน์ 60056.121)
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาถึงลักษณะความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกันภัย ลักษณะของการเสี่ยงภัย ปัจจัยในการประกอบการรับประกันภัย หลักทั่วไปตามกฎหมายเกี่ยวกับการประกันภัย รูปแบบของการประกันชีวิต การประกันวินาศภัยต่าง ๆ ที่มีทั้งการประกันภัยรถยนต์ ประกันภัยทางทะเล ตัวแทน นายหน้าการประกันภัย ซึ่งครอบคลุมถึงเอกสารธุรกิจประเภทต่าง ๆ ตลอดจนศึกษาถึงปัญหาและผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ในการทำธุรกิจประกันภัย
จุดประสงค์รายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและเข้าใจในคุณลักษณะพื้นฐาน และโครงสร้างงานของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ตลอดจนงานบริการ
2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาองค์ประกอบที่สำคัญของธุรกิจและงานประกันที่ต้องเข้าใจในเงื่อนไข ข้อกฎหมายที่มีบทบาทเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและสังคม
3. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีการเรียนการสอน และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้กับองค์การที่ปฏิบัติงานอยู่ หรือองค์การที่ปฏิบัติงานในอนาคตได้
กิจกรรมการเรียนการสอน
1. การบรรยาย , อภิปรายซักถามข้อสงสัย
2. มอบหมายงาน เพื่อฝึกการวิเคราะห์ สังเคราะห์งาน
3. รูปแบบการนำเสนอเพื่อฝึกภาวะผู้นำ
การวัดผล
1. การทำแบบฝึกหัด 20 คะแนน
2. การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนองานที่มอบหมาย 20 คะแนน
3. ทดสอบระหว่างภาคเรียน 20 คะแนน
4. ทดสอบปลายภาคเรียน 40 คะแนน
รวม 100 คะแนน
การประเมินผล
ระดับคะแนน A = 81 – 100
ระดับคะแนน B+ = 76 – 80
ระดับคะแนน B = 71 – 75
ระดับคะแนน C+ = 66 – 70
ระดับคะแนน C = 61 – 65
ระดับคะแนน D+ = 56 – 60
ระดับคะแนน D = 51 – 55
ระดับคะแนน E = 0 – 50
เอกสารและตำราประกอบการสอน
จิตติ ติงศภัทิย์. 2550. ป.พ.พ. ว่าด้วยการประกันภัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จันทิรา เพ็ชรยัน. 2550. หลักการประกันภัย. กรุงเทพฯ : บริษัทเอช.เอ็น. กรุ๊ปจำกัด. แขวงสีลม
เขตบางรัก กรุงเทพฯ
ณัฐวัสส์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. 2553. คำบรรยายจากเนติฯ พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพ์ไทย
วัฒนาพาณิชย์ จำกัด
ไพโรจน์ อายุภาพ. 2552. กฎหมายประกันภัย. กรุงเทพฯ : บริษัทสำนักพิมพ์ท้อป จำกัด
พูลศักดิ์ พุ่มวิเศษ. 2553. การวิเคราะห์นโยบายและแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติ นนทบุรี: บริษัท
ยุทธรินทร์การพิมพ์ จำกัด.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันท์. 2551 พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดเอดูเคชั่น.
สำนักงานประกันภัย กระทรวงพาณิชย์ . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พัฒนาสานัส.